การศึกษาประสิทธิภาพพลังงานและเอ็กเซอร์ยี่ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนร่วมกับตัวเก็บรังสีแสงอาทิตย์

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งทักษ์ดนัย สุภารส, ศิริชัย เทพา และ ณัฐ กาศยปนันท์

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2022


บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เปนการเปรียบเทียบประสิทธิภาพพลังงานและเอ็กเซอรยี่ และการประหยัดพลังงานของระบบปรับอากาศ แบบแยกสวนรวมกับตัวเก็บรังสีอาทิตย ระบบประกอบดวยเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวนอินเวอรเตอรชนิดอัดไอระบาย ความรอนดวยอากาศ โดยใชสารทำความเย็น R32 มีขนาดพิกัดทำความเย็น 3.517 kW(12,000 Btu/h) การทดลองรวมกับ ตัวเก็บรังสีอาทิตย  2 ชนิด คือ ตัวเก็บรังสีอาทิตยแบบแผนเรียบและตัวเก็บรังสีอาทิตยแบบหลอดแกวสุญญากาศ มีทอ ทองแดงขนาด 3/8 นิ้วภายในตัวเก็บรังสีอาทิตย การทดลองนี้ไดทำการควบคุมภาระการทำความเย็นบริเวณปรับอากาศ 1.0, 1.5, 2.0, 2.5, 3.0 และ 3.5 kW ที่อุณหภูมิปรับอากาศคงที่ 25 องศาเซลเซียสภายในหองปรับอากาศที่มีพื้นที่ 16 ตารางเมตร ชวงเวลา 09.00-17.00 น. ผลการทดลองพบวาระบบปรับอากาศใชงานรวมกับตัวเก็บรังสีอาทิตยแบบหลอดแกวสุญญากาศ ใหประสิทธิภาพพลังงาน ประสิทธิภาพเอ็กเซอรยี่ และคาสัมประสิทธิ์ของสมรรถนะการทำความเย็น (COP) และอัตราสวน ประสิทธิภาพพลังงาน (EER) สูงกวาแบบแผนเรียบ สูงกวาระบบปรับอากาศแบบแยกสวน และการใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ย สูงสุดแบบหลอดแกวสุญญากาศและแบบแผนราบเทากับ 6.648 kWh/day และ 7.217 kWh/day (09.00-17.00 น.) ระยะเวลาคนืทุน 1.52 ป และ 1.6 ป ตามลำดับ


คำสำคัญ

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


อัพเดทล่าสุด 2022-17-08 ถึง 23:05