การทํานายความสัมพันธ์ความเค้นและความเครียดของดินเหนียวผสมซีเมนต์ ด้วยโครงข่ายใยประสาทแบบเกิดซ้าชนิด LSTM

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งไปรยา รัตนกิจกุล และ สมโพธิ อยู่ไว

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2022

หน้าแรกGTE24-1

หน้าสุดท้ายGTE24-8

URLhttps://conference.thaince.org/index.php/ncce27/article/view/1574/1099


บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ได้พัฒนาโครงข่ายใยประสาทแบบเกิดซ้ําชนิด LSTM ทํานาย ความเค้นและความเครียดของการทดสอบดินเหนียวผสมซีเมนต์ด้วยวิธี แรงอัดสามแกน ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ อัตราส่วนผสมของซีเมนต์ น้ําและดิน ค่าความเค้นประสิทธิผลเฉลี่ย ค่าความเค้นเบี่ยงเบน และค่า ความเครียดในแนวดิ่ง การศึกษาน้ีจะนําเสนอสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมของ โครงประสาทเทียมแบบ LSTM และเปรียบเทียบกับโครงข่ายประสาทเทียม แบบอื่นๆ จากผลการศึกษาพบว่าโครงข่ายใยประสาทแบบเกิดซ้ําชนิด LSTM เป็นแบบจําลองที่ดีที่สุดเมื่อเทียบกับแบบจําลองแบบ GRU และ SimpleRNN แบบจําลอง LSTM ที่มีการคิดขั้นของเวลาเท่ากับสอง สามารถทํานายค่าความเค้นและความเครียดของดินซีเมนต์ได้มีความ ผิดพลาดสัมบูรณ์ท่ี 4 เปอร์เซ็นต์


คำสำคัญ

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


อัพเดทล่าสุด 2023-15-02 ถึง 23:05