การเพิ่มประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรในสายการผลิตปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนยานยนต์

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งSIRAPHOP BOONKONG, YOTMONGKON NONOI, NAGORN THANA-OLARN, PHUSIT THONGVISET, SOMCHOK SONTIKAEW, NOPPADOL KUMANUVONG

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2022

ชื่อชุดIncreasing the Overall Equipment Effectiveness in Auto Part Press Machine

หน้าแรก2608

หน้าสุดท้าย2617

จำนวนหน้า10

URLhttps://spucon.spu.ac.th/filemanager/files/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%203%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AF%20%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%201.pdf

ภาษาThai (TH)


บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ มประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรในสายการผลิตปั๊มขึ้นรูป ชิ้ นส่วนยานยนต์โดยทางบริษัทมาห์เล สยาม ฟิ ลเตอร์ซิสเต็มส์มีแผนที่จะปรับปรุงการผลิตของเครื่องจักรใน สายการผลิตปั๊มขึ้นรูปชิ้ นส่วนยานยนต์โดยพบว่าก่อนการปรับปรุงค่าประสิทธิผลโดยรวมตํ่ากว่าเป้าหมายที่ ต้องการ ซึ่งในการปรับปรุงนี้มุ่งเน้นเพิ่ มอัตราการเดินเครื่องโดยใช้เครื่องมือแผนภูมิพาเรโต และ Why-Why Analysis เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางแก้ไขของปัญหา ใช้เทคนิคSMED (Single Minute Exchange of Die) เพื่อลดเวลาในการปรับตั้งเครื่องปั๊ม และใช้เทคนิค ECRS (Eliminate Combine Rearrange Simplify) กาจัด ํ เวลาสูญเปล่าจากการรอคอย หลังจากการแกไขปรับปรุงการปรับตั ้ ้ งเครื่องจักรแล้ว พบวาเวลาที่ใช้ในการปรับตั ่ ้ ง เครื่องจักรลดลงโดยเฉลี่ยจาก51.89 นาทีเป็ น 18.14 นาทีต่อครั้ง ทําให้สามารถเพิ่ มอัตราการเดินเครื่องเฉลี่ยจาก ร้อยละ 62.1 เป็ นร้อยละ72.3 ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรโดยเฉลี่ยเพิ่ มขึ้นจากร้อยละ58.7 เป็ นร้อยละ69.2


คำสำคัญ

Overall Equipment Effectiveness / Setup Time / Availability / Single Minute Exchange of Die


อัพเดทล่าสุด 2023-16-02 ถึง 23:05