การประเมินด้านเทคนิคเศรษฐศาสตร์ของการนำ ไฮโดรเจนที่ผลิตจากเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนมาเป็นเชื้อเพลิงสะอาดสำหรับโรงไฟฟ้า

บทความในวารสาร


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งSuttichai Usaram and Prattana Ponoy

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2023

Volume number46

Issue number3

หน้าแรก211

หน้าสุดท้าย228

จำนวนหน้า18

นอก0125-278X

ภาษาThai (TH)


ดูบนเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์


บทคัดย่อ

ปัจจุบันประเทศไทยใช้แก๊สธรรมชาติที่มีแนวโน้มราคาสูงขึนในอนาคตเป็นเชื ้ อเพลิง ้ หลักในการผลิตไฟฟ้า อีกทังมีการปล่อยแก๊สเรือนกระจกปริมาณมาก งานวิจัยนี ้ จึงมี ้ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทาง เพื่อเป็นโครงการนำร่องในการผลิตเชือเพลิงไฮโดรเจน ้ จากเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนสำ หรับการผลิตไฟฟ้าที่สะอาดมากขึน ตลอดจนใช้ ้ เป็นแหล่งเชือเพลิงสำ ้ รองเพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ โดยประเมิน ศักยภาพทางเทคนิคและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการผลิตไฮโดรเจนจาก เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์และการแยกนำ ด้วยไฟฟ้าในพื้นที่ขนาด 4,000 ไร่ ของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในอำ เภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดย ไฮโดรเจนที่ผลิตได้จะนำ ไปใช้เป็นเชือเพลิงทดแทนแก๊สธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าที่ ้ โรงไฟฟ้าความร้อนบางประกงในกรณีที่แก๊สธรรมชาติไม่เพียงพอสำ หรับใช้ผลิตไฟฟ้า ทั้งนี้ พิจารณาทั้งต้นทุนที่ใช้ในการผลิตไฮโดรเจนต่อหน่วย (LCOH) และต้นทุนการ ผลิตไฟฟ้าต่อหน่วย (LCOE) ของไฮโดรเจนสะอาดที่ใช้ทดแทนแก๊สธรรมชาติในการ ผลิตไฟฟ้า จากผลการวิจัย พบว่า การผลิตไฮโดรเจนจากเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดพอ ลิคริสตัลไลน์และอิเล็กโทรไลเซอร์ชนิดออกไซด์ของแข็ง มีต้นทุนในการผลิตตำ ที่สุด โดย LCOH อยู่ที่ 132.933 บาท/kg และ LCOE อยู่ที่ 9.875 บาท/kWh 


คำสำคัญ

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


อัพเดทล่าสุด 2023-29-09 ถึง 07:37