การพัฒนามอร์ตาร์ที่ไม่ชอบน้ำสําหรับการพิมพ์ 3 มิติ
Conference proceedings article
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: ณัฏฐณิชา สกลอารีย์, กฤษณะ สังข์ศิริ, จุฑามาศ ทวีสินธุ์, สิริกมล อัศวมั่นคงเจริญ, ธนกร สุทธิอาภา, วราลักษณ์ แผ่นสุวรรณ, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และชัย จาตุรพิทักษmกุล
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2023
หน้าแรก: MAT13-1
หน้าสุดท้าย: MAT13-9
ภาษา: Thai (TH)
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงคเพื่อพัฒนามอรตารที่ไมชอบน้ำสำหรับใชงานใน กระบวนการพิมพ 3 มิติ โดยใชแคลเซียมสเตียเรต (CS) แทนที่ปูนซีเมนต ไฮดรอลิกในอัตรารอยละ 10.0, 12.5 และ 15.0 โดยน้ำหนักของวัสดุ ประสาน นอกจากนี้ใชเสนใยไมโครพอลิพรอพิลีน (PP) ขนาดความยาว 6 มม ในปริมาณรอยละ 0.2 และ 0.4 โดยปริมาตร ควบคุมความสามารถใน การไหลของมอรตารอยูระหวาง 180 – 190 มม โดยแปรเปลี่ยนอัตราสวน น้ำตอวัสดุประสาน ทำการทดสอบสมบัติในสภาวะสดและสภาวะแข็งตัวแลว ของมอรตาร ไดแก ระยะเวลาการกอตัว, การดูดซึมน้ำ, กำลังรับแรงอัด, มุมผิวสัมผัสของหยดน้ำบนพื้นผิว และความสามารถในการขึ้นรูปดวย การพิมพ 3 มิติ จากการศึกษาพบวาการใชแคลเซียมสเตียเรตในปริมาณ มากขึ้นทำใหอัตราสวนน้ำตอวัสดุประสานเพิ่มขึ้น สงผลใหระยะเวลาการกอตัว ของมอรตารนานขึ้น และกำลังรับแรงอัดลดลง อยางไรก็ตามการใชเสนใย ไมโครพอลิพรอพิลีนชวยใหกำลังรับแรงอัดของมอรตารเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การใชแคลเซียมสเตียเรตรอยละ 15 ยังชวยลดอัตราการดูดซึมน้ำไดถึง รอยละ 88.6 และมีมุมผิวสัมผัส 142 องศา และการใชเสนใยไมโครพอลิพรอพิลีนรวมกับแคลเซียมสเตียเรต สงผลกระทบตออัตราการดูดซึมน้ำและ มุมผิวสัมผัสเล็กนอย สำหรับการพิมพ 3 มิติ แคลเซียมสเตียเรตสงผลให พื้นผิวของตัวอยางพิมพหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการพิมพ มีความสามารถ ที่ไมชอบน้ำ และการทำความสะอาดตัวเอง นอกจากนี้เมื่อใชรวมกับเสนใย ไมโครพอลิพรอพิลีนรอยละ 0.2 สงผลตอความสามารถในการขึ้นรูปของ มอรตารสำหรับการพิมพ 3 มิต
คำสำคัญ
ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง