การวิเคราะห์ฉากทัศน์และความเป็นไปได้ของการพัฒนาเชื้อเพลิงยานยนต์จากก๊าซชีวภาพที่ผลิตจากน้ำเสียโรงงานเอทานอล
Conference proceedings article
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: Arissara Hato ,Pratin Kullavanijaya and Orathai Chavalaparit
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2023
หน้าแรก: 331
หน้าสุดท้าย: 344
จำนวนหน้า: 14
ภาษา: Thai (TH)
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี ้มีวัตถุประสงค์เพื ่อวิเคราะห์ฉากทัศน์และความเป็นไปได้ทางการเงินของการพัฒนาเชื ้อเพลิงยานยนต์ (ไบโอมีเทนอัด หรือ CBG) จากก๊าซชีวภาพที ่ผลิตจากน ้าเสียโรงงานเอทานอล มีขอบเขตการศึกษา ได้แก่ น ้าเสียจากการผลิตเอทานอลจาก กากน ้าตาล กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ การปรับปรุงคุณภาพก๊าซ และการใช้ประโยชน์ใน 4 ฉากทัศน์ของการทดแทน คือ ทดแทนก๊าซธรรมชาติ (NGV) ปิโตรเลียมเหลว (LPG) น ้ามันเตาและกระแสไฟฟ้า ผลการศึกษาชี้ให้เห็นความเป็นไปได้ของการผลิต เชื ้อเพลิงยานยนต์จากก๊าซชีวภาพโรงงานเอทานอล โดยพบว่าขนาดก าลังผลิตของโรงงาน ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ได้ ราคาเชื ้อเพลิง และรูปแบบการใช้พลังงานมีผลโดยตรงต่อความส าเร็จของโครงการ ซึ ่งให้ค่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิ ระยะเวลาคืนทุน อัตราผลตอบแทน ภายในต่างกัน โรงงานขนาดใหญ่ก าลังผลิต 0.2-0.5 ล้านลิตรต่อวัน มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิสูงกว่าโรงงานขนาดเล็ก (0.1 ล้านลิตรต่อวัน) มี ค่า 2-3 เท่าของเงินลงทุน มีค่าอัตราผลตอบแทนภายในที่ร้อยละ -4 ถึง 7 และระยะเวลาคืนทุนที่ 7-13 ปี การใช้ประโยชน์ก๊าซ ชีวภาพโดยตรง เช่น เผาไหม้เพื ่อผลิตไอน ้า ให้ผลตอบแทนสูงกว่าการผลิตเชื ้อเพลิงยานยนต์ ที ่มีค่าใช้จ่ายเพิ ่มขึ้นร้อยละ 36.6-66.3 จาก การปรับปรุงคุณภาพก๊าซ ขณะที่หากต้นทุนพลังงานเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 20 ส่งผลให้ความเป็นไปได้ของการผลิตเชื ้อเพลิงยานยนต์จาก ก๊าซชีวภาพมากขึ้น
คำสำคัญ
ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง