การพัฒนามิวสิควิดีโอเพลงประจำ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีโดยใช้ผู้นำ เสนอแบบนาโนอินฟลูเอนเซอร์
บทความในวารสาร
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: Kuntida Thamwipat, Pornpapatsorn Princhankol, Thanasorn Luanrat, Burit Phetcharatjuthaporn and Rittichai Jaitiang
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2024
วารสาร: วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ (1513-2226)
Volume number: 23
Issue number: 1
หน้าแรก: 66
หน้าสุดท้าย: 83
จำนวนหน้า: 18
นอก: 1513-2226
URL: https://so05.tci-thaijo.org/index.php/commartsreviewsiamu/article/view/272751/182161
ภาษา: Thai (TH)
บทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนามิวสิควิดีโอเพลงประจำคณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีโดยใช้ผู้นำ เสนอแบบนาโนอินฟลูเอนเซอร์ (2) ประเมินคุณภาพมิวสิควิดีโอเพลประจำคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี โดยใช้ผู้นำ เสนอแบบนาโนอินฟลูเอนเซอร์ (3) ประเมินผลการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง และ (4) ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อมิวสิควิดีโอเพลงประจำคณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีโดยใช้ผู้นำ เสนอแบบนาโนอินฟลูเอนเซอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) มิวสิควิดีโอเพลงประจำคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีโดยใช้ผู้นำ เสนอแบบนาโนอินฟลูเอนเซอร์ (2) แบบประเมินคุณภาพ ด้านเนื้อหาและด้านสื่อการนำ เสนอ (3) แบบประเมินผลการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง และ (4) แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากนักศึกษาผู้ที่เคยได้รับชมมิวสิควิดีโอเพลงประจำคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทตโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายจาก นักศึกษาผู้ที่เคยได้รับชมมิวสิควิดีโอเพลงประจำคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีโดยใช้ผู้นำ เสนอแบบนาโนอินฟลูเอนเซอร์และยินดีตอบแบบสอบถาม จำ นวน 50 คน ซึ่ง ผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่า มีผลการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดี ( = 4.50, S.D. = 0.44) ผลการประเมินคุณภาพด้านสื่อการนำ เสนอ อยู่ในระดับดีมาก ( = 4.72, S.D. = 0.43) ผลการประเมินด้านการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.90, S.D. = 0.30) และผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.88, S.D. = 0.32) ดังนั้น มิวสิควิดีโอเพลงประจำคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีโดยใช้ผู้นำ เสนอแบบนาโน อินฟลูเอนเซอร์ ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำ ไปใช้ได้จริง
คำสำคัญ
ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง