อัลกอริทึมคัดกรองเสียงผู้ป่วยโรคซึมเศร้าโดยใช้ดีพเลิร์นนิ่ง

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งกันตพัฒน์ ขวัญสมคิด, หทัยชนก พันธ์แก้ว, ทวีศักดิ์ ยิ่งถาวรสุข, สิริมลภัคน์ สุวรรณคุณ

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2024

หน้าแรก366

หน้าสุดท้าย379

จำนวนหน้า14

ภาษาThai (TH)


บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ใช้เทคนิคการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) เพื่อพัฒนาอัลกอริทึมคัดกรองโรคซึมเศร้าจากข้อมูลเสียงพูดของ ผู้หญิง โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. หญิงที่หายจากโรคซึมเศร้า 2. หญิงที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า และ 3. หญิงที่มีความเสี่ยงสูงต่อการฆ่าตัวตาย วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือ 1. ออกแบบและพัฒนาอัลกอริทึมเพื่อคัดกรอง ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจากคนปกติโดยใช้การประมวลผลสัญญาณเสียงและการเรียนรู้เชิงลึก 2. ประเมินประสิทธิภาพของ อัลกอริทึมในการคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า และ 3. พัฒนาอัลกอริทึมที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือช่วยทางการแพทย์ในอนาคต การวิจัยนี้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแบบจ าลองการเรียนรู้เชิงลึก 3 แบบ ได้แก่ 1. เครือข่ายประสาทเทียมแบบ Convolutional Neural Networks (CNNs) 2. เครื่องสนับสนุนเวกเตอร์ ( Support Vector Machines - SVMs) และ 3. เครือข่ายประสาทเทียมแบบวนซ้ าที่มี Long-Short Term Memory (RNN-LSTM) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า แบบจ าลอง CNN ให้ผลการจ าแนกประเภทที่ดีที่สุด โดยมีความแม่นย าสูง 97% ความสามารถในการเรียกคืน 92% ค่า F1-score 95% และความถูกต้อง 95% โครงการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า อัลกอริทึมการจ าแนกประเภทโรคซึมเศร้า โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้เชิงลึกมีประสิทธิภาพสูงและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทางการแพทย์ในอนาคต


คำสำคัญ

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


อัพเดทล่าสุด 2024-21-06 ถึง 00:00