การพัฒนาห้องปฏิบัติการเสมือนจริง เรื่อง แบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าโดยใช้กระบวนการ ADDIE Model
Conference proceedings article
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: กฤษณะ บุญสอาด และ สุจินต์ จิระชีวะนันท์
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2024
หน้าแรก: 587
หน้าสุดท้าย: 596
จำนวนหน้า: 10
URL: https://nclist.fiet.kmutt.ac.th/proceedings/index.php/online/issue/view/5/5
ภาษา: Thai (TH)
บทคัดย่อ
การพัฒนาห้องปฏิบัติการเสมือนจริง เรื่อง แบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้า มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพของห้องปฏิบัติการเสมือนจริง เรื่อง แบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้า เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา รวมถึง ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อห้องปฏิบัติการเสมือนจริง นักศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 สาขางานเทคนิคยานยนต์ไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี จ านวน 40 คน โดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม ห้องปฏิบัติการเสมือนจริงออกแบบตาม ADDIE Model ประกอบด้วย การใช้เครื่องวัดทางไฟฟ้า การจัดกลุ่มเซลล์แบตเตอรี่ การเชื่อมต่อแบตเตอรี่ และการเชื่อมต่อ BMS กับแพ็คแบตเตอรี่ โดยห้องปฏิบัติการเสมือนจริงและเนื้อหาทฤษฎีเป็นรูปแบบออนไลน์ นักศึกษา สามารถศึกษาด้วยตนเอง ท าการทดลองกับระบบแบตเตอรี่เสมือนจริงได้ ฝึกวัดค่าแรงดันไฟฟ้าและค่าความต้านภายใน ฝึกการเชื่อมต่อแบตเตอรี่ ห้องปฏิบัติการเสมือนจริงสามารถค านวณค่าพลังงาน (Wh) และค่าความจุ (Ah) ผลการหาคุณภาพของห้องปฏิบัติการเสมือนจริง โดยผู้เชี่ยวชาญด้านละ 5 ท่าน พบว่าคุณภาพ ทางด้าน เนื้อหาอยู่ใน เกณฑ์ ดีมาก (x= 4.52, S.D. = 0.48) และ ทางด้าน เทคโนโลยีการศึกษาอยู่ใน เกณฑ์ ดี (x= 4.48, S.D. = 0.34) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา พบว่าคะแนนก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย (x= 8.20 และคะแนนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย (x= 16.05 ดังนั้นคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน ของกลุ่มตัวอย่างสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 และ ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา พบว่าอยู่ใน เกณฑ์ พึงพอใจมากที่สุด (x= 4.65, S.D. = 0.52) ผู้ท าการวิจัยจึงสรุป ผลได้ว่าห้องปฏิบัติการเสมือนจริง เรื่อง แบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้า มีคุณภาพทางด้าน สื่อ เสมือนจริง อยู่ใน เกณฑ์ ดีมาก นักศึกษามี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญ รวมถึงนักศึกษา มีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ มากที่
คำสำคัญ
E-learning, Instructional Media, Multiple Integrals, ADDIE Model, Lithium-ion battery