การเปรียบเทียบทางการพิมพ์ของฟิล์มพลาสติกพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตกับฟิล์มพอลิโพรพิลีนเชิงพาณิชย์

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งSasiwimon Aunphromrat, Tanatorn Tongsumrith and Nitus Tipsotnaiyana

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2024

ชื่อชุดNational Conference on Learning Innovation in Science and Technology

หน้าแรก607

หน้าสุดท้าย614

จำนวนหน้า8

URLhttps://nclist.fiet.kmutt.ac.th/nclist2024/

ภาษาThai (TH)


บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติทางกายภาพและสมบัติเชิงกลของฟิล์ม Polybutylene succinate (PBS) และ ฟิล์ม Polypropylene เชิงพาณิชย์ (BOPP) และ เปรียบเทียบคุณภาพงานพิมพ์ของฟิล์ม Polybutylene succinate และ ฟิล์ม Polypropylene เชิงพาณิชย์ ด้วยระบบการพิมพ์เลตเตอร์เพลส ที่มีการแห้งตัวด้วยระบบยูวี โดยท าการพิมพ์ลงบนฟิล์ม ทั้งที่ปรับสภาพผิวหน้าและไม่ปรับสภาพผิวหน้า เดินเครื่องด้วยความเร็ว 3 ระดับ จากนั้นวิเคราะห์ค่าสี CIELAB ของงานพิมพ์ โดยวัดค่าความด า ค่าพื้นที่เม็ดสกรีน ค่า Tone Value Increase (TVI) ค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ และค่าความแตกต่าง ของสี(∆E*ab) ผลการวิจัยด้านสมบัติเชิงกลพบว่า PBS มีค่า tensile strength สูงกว่า BOPP แต่มีค่า elongation น้อยกว่า BOPP ด้านคุณภาพงานพิมพ์พบว่าค่าความด าเฉลี่ยของการพิมพ์ทั้ง 8 เงื่อนไขไม่แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ค่าเฉลี่ย ∆E*ab ของงานพิมพ์ที่พิมพ์บนฟิล์มพลาสติกที่ปรับสภาพผิวหน้าและไม่ปรับสภาพผิวหน้า ของ PBS มีค่า 1.24 ± 0.48 ของ BOPP มีค่า 9.59 ± 5.11 หมึกพิมพ์สามารถยึดเกาะบน PBS ได้ดีกว่า BOPP สรุปได้ว่า PBS สามารถรองรับงานพิมพ์ได้ และ ใช้เป็นทางเลือกส าหรับที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม


คำสำคัญ

Packaging printingอุตสาหกรรมการพิมพ์ Thai Printing Industries


อัพเดทล่าสุด 2024-16-07 ถึง 00:00