การศึกษาการตั้งเป้าหมายส่วนบุคคลด้วยส่วนประสานต่อกับผู้ใช้งานด้วยเสียง
บทความในวารสาร
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: Sakol Teeravarunyou, Pimsiri Chiwamit, Kochahem Kamolwit
ผู้เผยแพร่: Ergonomics Society of Thailand
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2024
ชื่อย่อของวารสาร: TJE
Volume number: 7
Issue number: 2
หน้าแรก: 62
หน้าสุดท้าย: 79
จำนวนหน้า: 18
นอก: 2586-9213
eISSN: 2773-8884
URL: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/TJE/issue/current
ภาษา: English-United States (EN-US)
บทคัดย่อ
การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นสิ่งที่ท้าทายกับคนรุ่นมิลเลนเนียล (Gen Y)โดยเฉพาะความต้องการที่จะเพิ่มทักษะหรือเรียนรู้ทักษะใหม่เพื่อจะได้ทำงานอย่างมืออาชีพ เครื่องมือการตั้งเป้าหมายและผลลัพธ์ (Objectives and Key Results) ที่ใช้กันแพร่หลายค่อนข้างที่จะซับซ้อน ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้เป็นการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ด้วยเสียง (Voice User Interface) เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ในเรื่องการตั้งค่า รวมถึงการติดตามและวัดผลของเป้าหมายโดยผสมผสานแนวทางเชิงกลยุทธ์ในการสร้างนิสัยทางพฤติกรรม การศึกษานี้ใช้วิธีวิทยาแบบผสมที่มีผู้เข้าร่วม 24 คนเข้ามาทำการทดลองในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่า มากกว่าครึ่งหนึ่งประสบความสำเร็จในระดับที่ 0.3 จำนวนหนึ่งในสามบรรลุผลถึงระดับ 0.7 กลุ่มที่ต้องการเพิ่มทักษะมีคะแนน Grit สูงกว่ากลุ่มเรียนรู้ทักษะใหม่และเข้าไปในระบบมากกว่า ผู้ทดสอบรายงานว่า การบูรณาการเป้าหมายด้วย SMART กลยุทธ์การสร้างนิสัย และมาตรวัดผลลัพธ์มีการเข้ากันอย่างดี
คำสำคัญ
OKRs, S.M.A.R.T., Voice user interface