ผลของตะกอนเริ่มต้นต่อการสร้างตะกอนเม็ดใช้อากาศ
Conference proceedings article
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: Saroch Boonyakitsombut, Naruemol Chaochan, Tiwapawn Chuenta and Wichuda Krongmingmongkol
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2024
หน้าแรก: 97
หน้าสุดท้าย: 102
จำนวนหน้า: 6
ภาษา: Thai (TH)
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของวัฏจักรการเติมน้้าเสียต่อการเกิดตะกอนเม็ดใช้อากาศในระบบเอสบีอาร์ น้้าเสีย ที่ใช้ในการทดลองนี้ ได้แก่ น้้าเสียโรงงานเอทานอลที่ผ่านการบ้าบัดแล้วผสมน้้าตาล โดยมีความเข้มข้นซีโอดีและบีโอดีเฉลี่ย 1,998 และ 374 มก./ล. เชื้อตะกอนจุลินทรีย์เริ่มต้นน้าจากถังเติมอากาศระบบเอเอสที่บ้าบัดน้้าเสียชุมชน การทดลองนี้ใช้ถังเอสบีอาร์ 2 ชุด ชุดแรกควบคุมให้มีวัฏจักรการเติมน้้าเสียทุก 4 ชั่วโมงต่อแบทช์ ส่วนชุดที่สองควบคุมที่ 6 ชั่วโมงต่อแบทช์ ถังเอสบีอาร์มีความ จุ 8 ลิตร อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 0.90 - 1.08 กก.บีโอดี/ลบ.ม.-วัน ผลการทดลอง พบว่า ถังเอสบีอาร์ 1 และ 2 สามารถ บ้าบัดซีโอดีได้ร้อยละ 66.97 และ 65.36 ตามล้าดับ และบ้าบัดทีเคเอ็นไนโตรเจนได้ร้อยละ 47.12 และ 49.04 ตามล้าดับ ตะกอน เม็ดใช้อากาศที่เกิดในทั้งสองถังส่วนใหญ่มีขนาดมากกว่า 0.85 มม. ความเร็วในการจมตัวสูงสุดของตะกอนเม็ดในถังเอสบีอาร์ 1 และ 2 เท่ากับ 128.1 และ 156.5 ม./ชม. ตามล้าดับ
ค้าส้าคัญ : วัฏจักรการเติมน้้าเสีย; ตะกอนเม็ดใช้อากาศ; ระบบเอสบีอาร์; การก้าจัดซีโอดีและทีเคเอ็น
คำสำคัญ
ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง