Antioxidant Capacities and Total Phenolic Contents of Selected Actinomycetes sp.
บทความในวารสาร
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: Supattra Kurakhamsang;Somporn Moonmangmee;Nongpanga Khunajakr;Duangtip Moonmangmee
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2019
Volume number: 14
Issue number: 1
หน้าแรก: 1
หน้าสุดท้าย: 8
นอก: 1905-3460
eISSN: 2672-9687
URL: http://ejournals.swu.ac.th/index.php/pharm/article/view/11243
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตสาร ต้านอนุมูลอิสระของเชื้อแอคติโนมัยซีท วิธีการศึกษา: เพาะเลี้ยงเชื้อแอคติโนมัยซีท ไอโซเลท SR3.97 ในอาหารเหลว maltose yeast extract (MYEB), tryptone-yeast extract broth (ISP-1)และ Bennett’s broth (BN) ที่ความเร็ว 200 รอบต่อนาที ที่ 37 องศาเซลเซียส นาน 7 วัน จากนั้นน าอาหารเลี้ยงเชื้อที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเชื้อไปท า แห้งแบบเยือกแข็งและวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 1,1-diphenyl-2- picrylhydrazyl radical-scavenging (DPPH) แล้วเลือกอาหารที่เหมาะสมเพื่อ เพาะเลี้ยงเชื้อและน าตัวอย่างส่วนใสจากการท าแห้งแบบเยือกแข็งมาวิเคราะห์ฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH, 2,2’-azinobis (3-ethylbensothiazoline-6-sulfonic acid) assay (ABTS), Ferric-reducing Antioxidant Power (FRAP) ตรวจวิเคราะห์ สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด และศึกษาสภาวะที่เหมาะสมโดยแปรผันค่า pH เริ่มต้น ของอาหารเลี้ยงเชื้อที่5, 6, 7, 8 และ 9 แปรผันอุณหภูมิเพาะเลี้ยงเชื้อที่25, 30, 35, 37, 40 และ 45 องศาเซลเซียส แปรผันระยะเวลาเพาะเลี้ยงเชื้อที่1, 3, 5, 7, 9, 11, 13 และ 15 วัน จัดจ าแนกเชื้อโดยวิธีทางอนุพันธุศาสตร์ด้วยการตรวจวิเคราะห์ล าดับเบส ชิ้นส่วนของยีน 16S rRNA ผลการศึกษา: เชื้อแอคติโนมัยซีท ไอโซเลท SR3.97 ผลิตสารต้านอนุมูลอิสระได้ดีที่สุดในอาหาร MYEB และจากวิธี DPPH, ABTS และ FRAP พบว่าสารต้านอนุมูลอิสระที่เชื้อผลิตขึ้นมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ต่างกัน (ค่า IC50 = 71.52 ± 0.76 µg
คำสำคัญ
Streptomyces chrysomallus, สารต้านอนุมูลอิสระ, สารประกอบฟีนอลิก, แอคติโนมัยซีท