การศึกษาการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการพัฒนาธุรกิจดิจิทัลด้วยเทคโนโลยีแบบความจริงเสริมผ่านระบบออนไลน์
บทความในวารสาร
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: วราพร จิระพันธ์ุ, วิลาวัลย์ อินทรชำนาญ, บัญญพนต์ พูนสวัสดิ์, อรวรรณ อิมสมบัติ, วิญญู นิรนาทล้ำพงศ์, กรุณา แย้มพราย, และ นรพล ดีช่วย
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2021
ชื่อย่อของวารสาร: ว.มทรส.
Volume number: 9
Issue number: 1
หน้าแรก: 106
หน้าสุดท้าย: 117
จำนวนหน้า: 12
URL: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/rmutsb-sci/article/view/248762
ภาษา: Thai (TH)
ดูบนเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์
บทคัดย่อ
ปัจจุบันรูปแบบการศึกษาทีเกิดขึนได้พัฒนาและปรับเปลียนตามเทคโนโลยีดิจิทัลทีเกิดขึน ประกอบกับความต้องการตอบสนองและ แก้ปัญหาในสังคมทีเกิดขึน อาทิ ความยากลําบากในการเดินทาง การจัดการเวลาตามตารางเรียน การติดตามเนื อหาการเรียนในห้องเรียน ย้อนหลัง รวมถึงสถานการณ์โรคระบาดทัวโลกทีเกิดขึน ทําให้เกิดมีความต้องการในการเรียนรู้แบบออนไลน์ เพือลดปัญหาหรืออุปสรรค ดังตัวอย่างทีได้กล่าวมา งานวิจัยนีเป็นการศึกษาการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมทีรองรับการสือสารสองช่องทางขณะการดําเนินการ สอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียนเปรียบเทียบกับการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ด้วยวิดีโอและผู้เรียนสามารถสือสารกับผู้สอนหลังจากการเรียนรู้ ตามช่องทางสือออนไลน์ทีผู้สอนได้จัดเตรียมไว้
การวิจัยนี ผู้วิจัยใช้แบบแผนการทดลองแบบศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการจัดกลุ่มของผู้เรียนเป็ นกลุ่มทดลองและ กลุ่มควบคุม ทังสองกลุ่มจะได้รับการเรียนรู้และสามารถมีส่วนในการดําเนินการวิจัยโดยเข้าระบบการเรียนการสอนออนไลน์ตามทีได้ จัดเตรียมไว้ให้ในการทดลอง กลุ่มผู้ทดลองได้รับการเรียนรู้และดําเนินการผ่านโปรแกรมซูม จํานวน 18 คน และกลุ่มควบคุมได้รับการสอน ผ่านระบบออนไลน์ด้วยวิดีโอ จํานวน 18 คน โดยกําหนดการเรียนรู้ตลอดหลักสูตร คือ 3 วัน วันละ 7 ชัวโมง สําหรับผู้เรียนทังสองกลุ่มจะได้รับ เนื อหาและ ชิ นงานทีต้องทําเหมือนกัน เครืองมือวิจัยได้ถูกสร้างเพือให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผลการวิจัยได้แสดงผล สัมฤทธ<ิการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมซูมและด้วยวิดีโอ พบว่าค่าเฉลียทังสองกลุ่มมีความแตกต่าง คะแนนค่าเฉลียของ กลุ่มทดลองเท่ากับ 14.93 คะแนน ค่าเฉลียของกลุ่มควบคุมเท่ากับ 12.80 การทดสอบความแตกต่างของเจตคติต่อการเรียนรู้ของกลุ่ม ทดลองมีค่าเฉลียเท่ากับ 90.87 เจตคติต่อการเรียนรู้ของกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลียเท่ากับ 82.13 และจากการทดสอบสถิติ t พบว่าเจตคติ ต่อการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมซูมสูงกว่าการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ด้วยวิดีโออย่างมีนัยสําคัญระดับ 0.05 คําสําคัญ: การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ การเรียนรู้นอกห้องเรียน เทคโนโลยีความจริงเสริม
คำสำคัญ
ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง