ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งNuthasak Polsri

รายการของผู้เผยแพร่ณัฐศักดิ์ พลศรี

ผู้เผยแพร่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ

สถานที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2021

หน้าแรก463

หน้าสุดท้าย476

จำนวนหน้า14

URLhttp://conference.csc.ku.ac.th/

ภาษาThai (TH)


บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบปัจจัยที่มีอิทธิพลความคิดเห็นด้านการเรียนของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สำราจความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 โดยประชากรเป็นนักศึกษาที่ใช้อินเทอร์เน็ตในการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 อายุระหว่าง 17-22 ปี ของมหาวิทยาลัย 2 แห่ง สำหรับกลุ่มตัวอย่างเป็น ซึ่งเลือกมาแบบการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) จำนวนทั้งสิ้น 293 คนสถิติในการทำนายสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาแบบ Multiple Logistic Regression (Adjusted OR , RR 95% CI) และ ในการหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดเห็นด้านการเรียนออนไลน์ของกลุ่มตัวอย่าง ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Online นั้นเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วผู้สอนผู้เรียนสถานศึกษาต้องปรับตัวอย่างเร่งด่วนผู้พัฒนาระบบทางด้านสารสนเทศเร่งพัฒนาเครื่องมือที่จะมาช่วยในการจัดการศึกษาและการประชุมทางไกลที่มีการดําเนินการอยู่บ้างแล้วแต่มาถึงยุคโควิด 19 การสอนทางไกลการประชุมทางไกลยิ่งเป็นเรื่องที่สําคัญและจําเป็นอย่างมากจึงเกิดเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนการประชุมทางไกลเกิดขึ้นมากมายเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้ใช้เช่น Zoom, Google Hangouts, Skype, Line, FaceTime, Facebook, Messenger, Microsoft Teams, True Virtual World, Google meet, Vroom, Web X  เป็นต้น

การจัดการเรียนการสอน Online นั้นควรจัดให้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนได้รับประโยชน์อย่างจริงจังจะเห็นได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นประการแรกคือเรื่องสถานที่ชัดเจนที่สุดจากการที่ผู้เรียนเคยต้องเดินทางไปศึกษาเล่าเรียนที่โรงเรียนก็กลับมาเป็นจัดการเรียนการสอน Online โดยนั่งเรียนที่บ้านได้ไม่ต้องเดินทางทําให้เราสามารถเรียนรู้ทุกเนื้อหาได้จากทุกคนทุกที่ทุกเวลาและไม่ได้ทําให้การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนลดลง

ผลการศึกษาพบว่า แทรก/แก้ไข Anchorปัจจัยด้านอุปกรณ์การเรียนออนไลน์ และด้านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีอิทธิพลต่อความคิดเห็นด้านการเรียนของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 การใช้ความสัมพันธ์กันเชิงบวก และมีความสัมพันธ์กันระดับมาก

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบปัจจัยที่มีอิทธิพลความคิดเห็นด้านการเรียนของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สำราจความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 โดยประชากรเป็นนักศึกษาที่ใช้อินเทอร์เน็ตในการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 อายุระหว่าง 17-22 ปี ของมหาวิทยาลัย 2 แห่ง สำหรับกลุ่มตัวอย่างเป็น ซึ่งเลือกมาแบบการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) จำนวนทั้งสิ้น 293 คนสถิติในการทำนายสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาแบบ Multiple Logistic Regression (Adjusted OR , RR 95% CI) และ ในการหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดเห็นด้านการเรียนออนไลน์ของกลุ่มตัวอย่าง ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Online นั้นเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วผู้สอนผู้เรียนสถานศึกษาต้องปรับตัวอย่างเร่งด่วนผู้พัฒนาระบบทางด้านสารสนเทศเร่งพัฒนาเครื่องมือที่จะมาช่วยในการจัดการศึกษาและการประชุมทางไกลที่มีการดําเนินการอยู่บ้างแล้วแต่มาถึงยุคโควิด 19 การสอนทางไกลการประชุมทางไกลยิ่งเป็นเรื่องที่สําคัญและจําเป็นอย่างมากจึงเกิดเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนการประชุมทางไกลเกิดขึ้นมากมายเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้ใช้เช่น Zoom, Google Hangouts, Skype, Line, FaceTime, Facebook, Messenger, Microsoft Teams, True Virtual World, Google meet, Vroom, Web X  เป็นต้น

การจัดการเรียนการสอน Online นั้นควรจัดให้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนได้รับประโยชน์อย่างจริงจังจะเห็นได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นประการแรกคือเรื่องสถานที่ชัดเจนที่สุดจากการที่ผู้เรียนเคยต้องเดินทางไปศึกษาเล่าเรียนที่โรงเรียนก็กลับมาเป็นจัดการเรียนการสอน Online โดยนั่งเรียนที่บ้านได้ไม่ต้องเดินทางทําให้เราสามารถเรียนรู้ทุกเนื้อหาได้จากทุกคนทุกที่ทุกเวลาและไม่ได้ทําให้การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนลดลง

ผลการศึกษาพบว่า แทรก/แก้ไข Anchorปัจจัยด้านอุปกรณ์การเรียนออนไลน์ และด้านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีอิทธิพลต่อความคิดเห็นด้านการเรียนของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 การใช้ความสัมพันธ์กันเชิงบวก และมีความสัมพันธ์กันระดับมาก


คำสำคัญ

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


อัพเดทล่าสุด 2022-11-02 ถึง 23:05