บทบาทขบวนการเคลื่อนไหวแรงงาน และเส้นทางสู่ความหลากหลายของระบบทุนนิยมในเกาหลีใต้ และไต้หวัน

บทความในวารสาร


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งBank Ngamarunchot

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2021

ชื่อย่อของวารสารJSSNU

Volume number17

Issue number2

หน้าแรก219

หน้าสุดท้าย251

จำนวนหน้า33

นอก1686-9192

eISSN2697-4657

URLhttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/jssnu/article/view/253393


ดูบนเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์


บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะอภิปรายถึง “การปรับตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป” และ “ความหลากหลาย” ของสถาบันทางเศรษฐกิจ โดยใช้เกาหลีใต้ และไต้หวันเป็นกรณีศึกษาสำหรับการสร้างข้อเสนอทางทฤษฎี บทความมีข้อเสนอสองประการ ได้แก่ ประการแรก การต่อสู้ระหว่างขบวนการแรงงาน รัฐ และทุน เป็นตัวกำหนดสำคัญที่นำมาสู่การปรับเปลี่ยนสถาบันทางเศรษฐกิจให้ก้าวหน้ามากขึ้น และประการที่สอง ระดับความขัดแย้งในการปะทะต่อรองระหว่าง ขบวนการแรงงาน และ รัฐ-ทุน มีผลต่อทิศทางและความหลากหลายของสถาบันแรงงานและระบบทุนนิยม โดยหากความขัดแย้งสูงระบบเศรษฐกิจก็จะค่อย ๆ ปรับตัวไปสู่เศรษฐกิจตลาดแบบเสรี ในทางกลับกัน หากความขัดแย้งต่ำและประนีประนอมสูง สถาบันทางเศรษฐกิจก็มีแนวโน้มพัฒนาไปสู่เศรษฐกิจตลาดแบบเครือข่าย ข้อค้นพบดังกล่าวนี้ช่วยพัฒนาข้อถกเถียงทางทฤษฎีการปรับตัวของสถาบันการพัฒนาทุนนิยมจากความขัดแย้งภายใน และความหลากหลายของระบบทุนนิยม


คำสำคัญ

การเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปการเมืองของการสร้างความร่วมมือขบวนการเคลื่อนไหวแรงงานความหลากหลายของระบบทุนนิยมสถาบัน


อัพเดทล่าสุด 2023-26-09 ถึง 07:37