การกำจัดซูคราโลสด้วยกระบวนการร่วมระหว่างรังสีอัลตราไวโอเลตและสารคลอรีน

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งChutikarn Kaewpradit and Surapong Rattanakul

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2022

หน้าแรก1

หน้าสุดท้าย7

จำนวนหน้า7


บทคัดย่อ

การปนเปื้อนของสารกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาและผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคลในแหล่งน้้าต่างๆ รวมถึงน้้าดื่ม สร้างความน่ากังวลต่อ การเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดของโรคจากสารกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาและผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคลในผู้ใช้น้้าประปาอย่างมาก ดังนั้น กระบวนการผลิตน้้าสะอาดที่มีประสิทธิภาพในการก้าจัดสารกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาและผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคลจึงมีความส้าคัญอย่าง มาก โดยงานวิจัยนี้ท้าการศึกษาประสิทธิภาพในการก้าจัดซูคราโลสซึ่งเป็นสารตัวแทน (Marker) ของสารกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาและ ผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคล ด้วยกระบวนการร่วมระหว่างรังสีอัลตราไวโอเลต เปรียบเทียบกับ กระบวนการฉายรังสีอัลตราไวโอเลต เพียงอย่างเดียว และ กระบวนการใช้สารคลอรีนเพียงอย่างเดียว ภายใต้การทดลองด้วยปฏิกรณ์แบบตั้งโต๊ะ ผลการทดลองพบว่า กระบวนการร่วมระหว่างรังสีอัลตราไวโอเลตและสารคลอรีนสามารถก้าจัดซูคราโลสได้ดีที่สุด ตามด้วย กระบวนการใช้สารคลอรีน เพียงอย่างเดียว และกระบวนการฉายรังสีอัลตราไวโอเลตเพียงอย่างเดียว ตามล้าดับ โดยประสิทธิภาพการก้าจัดซูคราโลสของ กระบวนการร่วมระหว่างรังสีอัลตราไวโอเลตและสารคลอรีนมากกว่าประสิทธิภาพรวมของกระบวนการใช้สารคลอรีนเพียงอย่างเดียว และกระบวนการฉายรังสีอัลตราไวโอเลตเพียงอย่างเดียว บ่งชี้ถึงการย่อยสลายด้วยสารอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้น และการเพิ่มควา ม เข้มข้นที่ 3 mg/L ของสารคลอรีนในกระบวนการร่วมระหว่างรังสีอัลตราไวโอเลตและสารคลอรีนมีประสิทธิภาพในการก้าจัดซู คราโลสมากที่สุดที่ 37±0.4% ในระยะเวลา 30 นาที จากการศึกษาสรุปได้ว่ากระบวนการร่วมระหว่างรังสีอัลตราไวโอเลตและสาร คลอรีนมีประสิทธิภาพสูงในการก้าจัดสารกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาและผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคลและสามารถช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิด โรคจากสารกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาและผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคลได


คำสำคัญ

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


อัพเดทล่าสุด 2022-21-07 ถึง 23:05