การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการก าจัดแบคทีเรียและไวรัสด้วยกระบวนการโคแอกกูเลชั่น
Conference proceedings article
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: Siriwara Maneein and Surapong Rattanakul
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2022
หน้าแรก: 16
หน้าสุดท้าย: 22
จำนวนหน้า: 7
บทคัดย่อ
การปนเปื้อนของแหล่งน้้าที่ใช้ในการอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะไวรัสก่อโรคทางน้้า สร้างความน่ากังวลส้าหรับผู้ใช้น้้าและ การใช้แบคทีเรียอีโคไลเป็นจุลินทรีย์บ่งชี้ส้าหรับประเมินประสิทธิภาพในการก้าจัดไวรัสก่อโรคในน้้าในประบวนการผลิตน้้าสะอาด อาจไม่เหมาะสมเนื่องด้วยความแตกต่างของโครงสร้างจุลินทรีย์ทั้งสองชนิด ดังนั้นการใช้จุลินทรีย์บ่งชี้ที่ลักษณะใกล้เคียงกับไวรัส ก่อโรคในการทดสอบประสิทธิภาพจึงอาจมีความเหมาะสมมากกว่า จึงเป็นที่มาของงานวิจัยครั้งนี้ซึ่งได้ท้าการศึกษาเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการก้าจัดไวรัสและแบคทีเรีย โดยแบคเทอริโอเฟจ MS–2 และแบคทีเรียอีโคไล สายพันธุ์ IFO3301เป็นจุลินทรีย์บ่งชี้ ตามล้าดับ ในกระบวนการโคแอกกูเลชั่นด้วยสารโคแอกกูแลนต์ 3 ประเภทคือ สารส้ม โพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ และเฟอร์ริคคลอ ไรด์ ที่ค่าพีเอช 5 7 และ 9 ผลการทดลองพบว่า แบคเทอริโอเฟจ MS–2 และแบคทีเรียอีโคไลถูกก้าจัดได้มากขึ้นเมื่อเพิ่มความ เข้มข้นของสารโคแอกกูแลนต์และมากที่สุดที่ความเข้มข้น 50 mg/L โดยโพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ให้ค่าประสิทธิภาพการก้าจัดสูงสุด รองลงมาคือสารส้ม และเฟอร์ริคคลอไรด์ นอกจากนี้ค่าพีเอชของน้้ามีผลต่อการก้าจัดแบคเทอริโอเฟจ MS–2 และแบคทีเรียอีโคไล โดยประสิทธิภาพการก้าจัดมากที่สุดค่าพีเอช 5 และเมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพก้าจัดระหว่างแบคเทอริโอเฟจ MS–2 และ แบคทีเรียอีโคไลพบว่า แบคเทอริโอเฟจ MS–2 ถูกก้าจัดได้มากกว่า แบคทีเรียอีโคไล ในทุกค่าพีเอช ทุกความเข้มข้นของสารโค แอกกูแลนต์ทั้งสามชนิด ดังนั้นสรุปได้ว่า กระบวนโคแอกกูเลชั่นมีประสิทธิภาพในการก้าจัดไวรัสและแบคทีเรียที่แตกต่างกัน และ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการก้าจัดไวรัสในกระบวนการโคแอกกูเลชั่นอย่างแม่นย้านั้นควรใช้แบคเทอริโอเฟจ MS–2 มากกว่า แบคทีเรียอีโคไล
คำสำคัญ
ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง