การพัฒนาชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์แผนกวิขาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน
บทความในวารสาร
ผู้เขียน/บรรณาธิการ
กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์
รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์
รายชื่อผู้แต่ง: Khemmathat Boonphoung, Pornpapatsorn Princhankol and Kuntida Thamwipat
ผู้เผยแพร่: คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.): 2022
ชื่อย่อของวารสาร: JLIT
Volume number: 2
Issue number: 2
หน้าแรก: 38
หน้าสุดท้าย: 49
จำนวนหน้า: 12
นอก: 2773-9740
eISSN: 2773-9759
URL: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JLIT/article/view/257472/
ภาษา: Thai (TH)
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาและประเมินคุณภาพชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน และ 2) เพื่อประเมินผลการรับรู้และเพื่อประเมินความพึงพอใจของ กลุ่มตัวอย่างที่มีต่อชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัย พณิชยการเชตุพน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านสื่อการน ำเสนอ แบบ ประเมินการรับรู้ และแบบประเมินความพึงพอใจ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ดำเนินการโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างจ านวน 30 คน จากนักเรียนในรายวิชาการสร้างงานโมชันกราฟิก ที่ยินดีตอบ แบบสอบถาม ซึ่งผลจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านสื่อ รวมจำนวน 6 ท่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า มีผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่ามีผลการประเมินคุณภาพ ด้านเนื้อหา อยู่ในระดับดีมาก (𝑥 = 4.78, S.D. = 0.58) ผลการประเมินคุณภาพด้านสื่อการน าเสนอ อยู่ในระดับดี (𝑥 = 4.22, S.D. = 0.38) ผลการประเมินการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง อยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥 = 4.60, S.D. = 0.80) และผลการประเมิน ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥 = 4.64, S.D. = 0.67) ดังนั้นชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อ ส่งเสริมภาพลักษณ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยพณิชยการเชตุสามารถน าไปใช้งานได้จริงอย่างมีคุณภาพ
คำสำคัญ
New Media