การศึกษาสมรรถนะตู้เย็นขนาดเล็ก โดยใช้คอมเพรสเซอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

Conference proceedings article


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งทวีวัฒน์ สุภารส, สมภพ ปัญญาสมพรรค์, ศุภนิดา ขวัญเพ็ง, ชลิดา มีเหลือง, ทักษ์ดนัย สุภารส

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2022

หน้าแรก123

หน้าสุดท้าย127

จำนวนหน้า5


บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อสมรรถนะการทาความเย็นของตู้เย็น และความคุ้มค่าในการลงทุน ตู้เย็นขนาดเล็กประกอบด้วยคอมเพรสเซอร์กระแสสลับ (AC) และกระแสตรง (DC) ทดลองตามมาตรฐาน มอก. 2186-2547 แบ่งเป็น 2 กรณีคือระบบไฟฟ้ากระแสตรง และระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ที่ภาระทาความเย็นทั้งหมด 10 กรณี ใช้น้าเป็นภาระการทาความเย็น ผลการทดลองทั้ง 2 กรณีพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะการทาความเย็น (COP) ของคอมเพรสเซอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC) สูงกว่าคอมเพรสเซอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ทุกภาระการทาความเย็น และจากการทดสอบตามมาตรฐานเกณฑ์ระดับแสดงประสิทธิภาพพลังงานระหว่างการใช้คอมเพรสเซอร์กระแสสลับ กับคอมเพรสเซอร์กระแสตรง มีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อปีเท่ากับ 319.08 kWh/y และ 276.82 kWh/y ตามลาดับ สาหรับตู้เย็น 1 ประตู(ไฟฟ้ากระแสสลับ) มีมาตรฐานเกณฑ์ระดับแสดงประสิทธิภาพเบอร์ 3 และไฟฟ้ากระแสตรงมีมาตรฐานเกณฑ์ระดับแสดงประสิทธิภาพเบอร์ 5 และพบว่าคอมเพรสเซอร์กระแสตรงประหยัดกว่าคอมเพรสเซอร์ไฟฟ้ากระแสสลับเป็นเงิน 2023.56 บาท/ปี ระยะเวลาในการคืนทุน 4.85 ปี
คาสาคัญ: ตู้เย็นขนาดเล็ก/สัมประสิทธิ์สมรรถนะการทาความเย็น/คอมเพรสเซอร์ไฟฟ้ากระแสตรง/คอมเพรสเซอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ


คำสำคัญ

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


อัพเดทล่าสุด 2024-26-10 ถึง 00:00