การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักจากของเหลือใช้ในกระบวนการผลิตเนื้อมะพร้าวขาวโดยใช้การวิจัยแบบมีส่วนร่วม

บทความในวารสาร


ผู้เขียน/บรรณาธิการ


กลุ่มสาขาการวิจัยเชิงกลยุทธ์

ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


รายละเอียดสำหรับงานพิมพ์

รายชื่อผู้แต่งSudarut Tripetchkul;Songpon Koonsrisuk;Saengchai Akeprathumchai;Sasithorn Kusuwanwichid;Kanokwan Pundee;Teerawut Laptrakoon

ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.)2017

วารสารวารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน (0854-9849)

Volume number24

Issue number2

หน้าแรก57

หน้าสุดท้าย79

นอก0854-9849

URLhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ppmjournal/article/view/107622/85167


บทคัดย่อ

หรือน้ำหมักชีวภาพมีการเจริญเติบโตด้านความสูง จำนวนใบ และน้ำหนักดีกว่าแปลงที่ไม่ใส่ปุ๋ยหมักหรือน้ำหมักชีวภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)              จากการวิเคราะห์กลไกการถ่ายทอดเทคโนโลยีพบว่า การร่วมประชุม และการฝึกปฏิบัติ ช่วยให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการวัสดุเหลือใช้ และการผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพได้ดี โดยมีค่าคะแนนร้อยละ 80 และ 84 ตามลำดับ ปัจจัยบวกที่ส่งผลต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้แก่ วัฒนธรรมและนโยบายขององค์กรที่สนับสนุนเรื่องการเรียนรู้ และเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อม สำหรับอุปสรรคในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือการเปลี่ยนแปลงผู้บริหาร และการจัดสรรเวลาการร่วมกิจกรรมของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีงานประจำทำอยู่


คำสำคัญ

White coconut meat manufacturing process, technology transfer, participatory action research, wastes, bio-extract, compost


อัพเดทล่าสุด 2022-06-01 ถึง 15:35